
ศิลปะกับศิลปิน ความตั้งใจของผู้อำนวยการที่นี่ สนใจเรื่อง ความหลากหลายของศิลปะ นั้นมีความหมายอย่างไร
ศิลปะกับศิลปิน หลากหลายทิศทาง ที่หอศิลปวัฒนธรรม ในกรุงเทพมหานคร รอบล้อมหอศิลปวัฒนธรรม ไดถูกรายล้อม ไปด้วยพื้นที่ ที่มีความสำคัญ ทางด้านธุรกิจ ทั้งนี้ก็รวมไปถึง ห้ามสรรพสินค้าระดับเบืองต้นด้วย ถึงจะรายล้อมไปด้วย สภาพแวดล้อมแบบนี้ ทางหอสิลปเองก็ มีความโดดเด่น
และมีความแตกต่างไป จากบริบทที่อยู่รอบ ๆ ก็เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว ที่ ทางหอศิลป์ ได้เปิดพื้นที่ เพื่อให้ศิลปินแล้วก็ งานศิลปะต่าง ๆ ได้หมุนเวียนเข้ามา เพื่อจัดแสดง แต่สิ่งที่เรา สามารถสมัมผัสได้ และก็ต้องยอมรับนั่นก็คือ กำแพงบางอย่าง ที่เป็นตัวปิดกั้น สร้างความกลัว ทำให้ผู้คนต่างก็
ไม่อยากที่จะเข้าถึงศิลปะ จึงได้เกิดแนวคิดในการสร้างภารกิจ เพื่อทำลายกำแพงที่ว่านี้ เมื่อครูป้อมซึ่งเป็นผู้อำนวยการหอศิลปคนใหม่ ได้เข้ามารับตำแหน่ง The MATTER ก้ได้มีโอกาสพูดคุยกับ ครูป้อมถึงเป้าหมายความฝันของเขา ครูป้อมมีความหวังว่า ศิลปะนั้นจะสามารถเข้าถึง
ผู้คนที่หลากหลายมากขึ้น และผุ้คนจะไม่มองศิลปะเป็นเรื่องไกลตัวอีกต่อไป นานมาแล้วศิลปินชาวอิสราเอล ก็มีความประหลาดใจมาก อย่างที่ไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน แม้ว่ากรุงเทพมหานคร จะไม่ได้มีย่าน Down Town ที่ชัดเจน แต่ด้วยความร่วมมือ ของบรรดาศิลปิน และผุ้ที่รักงานศิลปะได้ร่วมด้วยช่วยกัน ต่อสู้มายาวนานมากกว่าสิบปี พื้นที่หอศิลป์ตรงนี้ จึงไม่ถูกเปลี่ยนเป็นห้างสรรพสินค้า
คิดว่า ฟังก์ชันหลักของหอศิลป์ ในเมืองสื่อให้เห็นถึงอะไร
ถึงแม้หอศิลป์ จะอยู่ท่ามกลางใจเมืองแบบนี้ แถมพื้นที่ที่หอศิลป์อยู่ ก็เป็นพื้นที่ที่มีมูลค่าสูงเลยทีเดียว ถึงแม้ว่าแนวคิดนี้ ออกจะดูคลีเช่ไปซักหน่อย ผมมีแนวคิดว่าพื้นที่ตรงนี้ ควรจะเป็นพื้นที่ที่ทุกคน สามารถเข้ามาชมได้ หรือคนที่ทำงาน ทางด้านศิลปะแล้วก็วัฒนธรรม สามารถใช้พื้นที่นี้ในการนำเสนอ
โคงสร้างโดยรวม ของที่นี่ได้ถูกออกแบบขึ้นมาก็เพื่อ ทำงานด้านศิลปวัฒนธรรม แต่พื้นที่ตรงนี้ก็ยังมีพื้นที่อีกมากมาย ยังสามารถทำงาน ได้อีกหลากหลายด้าน ยกตัวอย่างเช่น งานด้านการแสดง หรือจะเป็นกิจกรรม ทางด้านงานเสวนา เนื่องด้วยโลกในปัจจุบันนี้ ได้เดินหน้าไปไกล กว่าคำว่าหลากหลาย
แต่เรียกว่า inclusivity จริง ๆ แล้วไม่ใช่การยอมรับ ถึงความหลากหลายและแตกต่างของกันและกัน เพียงเราต้องทำบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้ผู้คนที่แตกต่าง สามารถกลมเกลียวในสังคมเดียวกันได้ ย้อนกลับไปช่วงก่อน ที่จะมารับตำแหน่ง เป็นผู้อำนวยการที่หอศิลป์นี้ ผมได้เดินขึ้นมา ตั้งแต่ลานจอดรถ
จนมาถึงชั้นที่หนึ่ง สิ่งที่ทำให้ตกใจก็คือ พระพุทธรูปที่มีมากมายเต็มไปหมด เนื่องด้วยในขณะนั้น มีการจัด นิทรรศการทางด้านศาสนา แต่เมื่อขึ้นมาที่ชั้นบน ก้พบว่ามีอีกนิทรรศการหนึ่ง นั่นก็คือ นิทรรศการงานพื้นบ้าน ของคนภาคอีสานจัดอยู่ด้วย หากลองเปรียบเทียบให้เห็นภาพ
อย่างชัดเจน เมื่อคุณข้าไปภายในวัด ในวัดก็ไม่ได้มีแต่เรื่องศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่กลับมีเรื่องชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คน รวมอยู่ในนั้นด้วย แสดงให้เห็นถึงศิลปะ ในหลากหลายแขนง และคนที่ไปวัดเอง ก็ไม่ได้มีเป้าหมาย เพื่อที่จะไปทำบุญ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
ศิลปะกับศิลปิน สิ่งที่อาจารย์มีความตั้งใจมากที่สุด
หรือบางคนนั้น ที่มาหอศิลป์ ก็เพียงเพื่อทานไอศครีมเพียงอย่างเดียว หรือบางคนก็มาดื่มกาแฟเฉย ๆ บางคนนั้นก็ตั้งใจมาดูละคร แต่ก็ไม่ได้คิดที่จะดูงานนิทรรศการ นโยบายที่มีความต้องการ ไปสู่เป้าหมายคือ inclusivity ของเราจึงจำเป็นต้องตอบโจทย์แบบนี้
ก็คือหวังที่จะให้ทุก ๆ คนสามารถทำอะไรได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ถือได้ว่าเป็นความท้าทาย ของผมแล้วก็ทีมงานทุก ๆ คน เป้าหมายก็เพื่อให้ผุ้คนที่เข้ามาเห็นนั้น ได้ทราบว่าจริง ๆ แล้วงานศิลปะที่อยู่ชั้นบน นั้นได้มีความเชื่อมโยงถึงชีวิตของพวกเขาด้วยนโยบายหลักของผมนั้นก็คือ art appreciation นั่นหมายถึงส้ราง
ความคิดใหม่ ให้ผู้คนมองเห็นว่า ศิลปะไม่ใช่เรื่องที่ไกลตัว ผมนึกขึ้นได้ถึงประโยค ของใครบางคนที่ได้กล่าวว่า art in every heart แต่แท้จริงแล้วระบบการศึกษา ภายในบ้านของเรา ก็ไม่ด้มีแนวทางการสอนว่า ศิลปะนั้นเป็นของทุกคน แต่ถูกทำให้มองเพียงว่า เป้นเรื่องของศิลปิน
หรือว่าเป็นเรื่องของคน ที่เรียนมาทางด้านนี้เท่านั้น ต่างประเทศก็มีการนำนักเรียน ไปศึกษานอกสถานที่อย่างพิพิธภัณฑ์ ถือเป็นเรื่องปกติมาก เขาพานักเรียก ออกไปทำการศึกษาและทำกิจกรรมต่าง ๆ ผมมีความหวังว่าอยากให้ทุกโรงเรียน สามารถทำได้แบบนี้นะ การพานักเรียนไปที่หอสิลป์ ไม่ได้เป็น หน้าที่ของครูศิลปะ เพียงอย่างเดียว ครูสายวิทย์หรือวิชาอื่น ๆ ก็สามารถพานักเรียนมาหอศิลป์ได้ด้วย
ตั้งเป้าหมายอะไรในการที่ผู้คนจะได้ความรู้สึกกลับมาจากหอศิลป์
จริงแล้วความต้องการของผม ก็ไม่ได้ต้องการให้เด็กสายวิทย์ มาวาดรูปหรือว่าเล่นดนตรี แต่อยากให้เขาได้ทราบว่า แท้จริงแล้ว ศิลปะนั้นก็มีประโยชน์ต่อการเรียน ของเขาเช่นกัน และในขณะเดียวกัน ผมก็มีความยากให้ นักเรียนที่เรียนสายศิลป์นั้น มีความรู้ความเข้าใจทางด้านวิทยศาสตร์ด้วย ศิลปะสมัยใหม่
ผมมองว่าปัญหานี้ เกิดจากการแบ่งแยกนักเรียน ออกเป็นสายต่าง ๆ เช่นสายวิทย์ และสายศิลป์ ด้วยความที่หอศิลป์นี้ ได้ถูกสร้างให้อยู่ใจกลางเมือง พวกเราทุกคนจึงมีหน้าที่ รับผิดชอบร่วมกันทุกคน เราจำเป็นต้องทำให้ทุกคน มีความรู้สึกว่า สถานที่นี้เป็นสถานที่ ที่ใครก็ตามก็เข้ามาได้ ในช่วงระยะแรกที่หอศิลป์เปิด ศิลปะร่วมสมัย
ผู้คนก็มีความกลัวว่า หากได้เข้าไปแล้วจะเข้าใจไหม เนื่องจากการเรียนการสอนในเรื่อง art appreciation ยังไม่มีความทัดเทียมกับที่อื่น ผู้คนยังมีความรู้สึกกลัว ในเรื่องของศิลปะ ในขณะที่ประเทศอื่นนั้น เวลาที่หนุ่มสาวอยากที่จะไปเที่ยว พวกเขาสามารถไปพิพิธภัณฑ์ได้ การออกไปเที่ยวนั้นไม่ได้มีแต่ ศิลปะข้างถนน
การออกไปเที่ยวในผับบาร์ หรือว่าห้างสรรพสินค้าเพียงอย่างเดียว เป้าหมายแรก ๆ ก็อยากให้พวกเขามีความสุข ยกตัวอย่างวันก่อน ผมนั่งรถไฟฟ้า เดินทางมาจากในเมือง ในรถนั้นมีคนแน่นมากเลยนะ แทนที่ทุกคนทำงานเสร็จ ต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน แต่ลองแวะเวียนมาผ่อนคลายที่หอศิลป์ ก็น่าจะสามารถสร้างความสุขได้พอสมควร ไม่ว่าจะเป็นความสุขที่ได้มานั่งเฉย ๆ ได้ดู งานศิลปะ อย่าเงียบ ๆ ที่นี่ก็สามารถให้ความสุขกับเขาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเสียเงิน
มีมุมมองว่าพื้นที่แบบนี้สามารถ เยียวยาชีวิตของเราได้หรือไม่
ในขั้นที่สองนั้น ก็เป็นการทำให้พวกเขา ได้มีแรงบันดาลใจขึ้นมา จากประสบการณ์ ที่เราได้ทำ งานศิลปะร่วมสมัย ลึก ๆ แล้วเราก็ไม่ได้มีเป้าหมายที่ชัดเจน ว่าจริง ๆ แล้วอยากให้ผู้คน รู้สึกแบบไหนบ้าง จริง ๆ แล้วงานทุกอย่างที่นี่ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้คน สามารถตีความ งานต่าง ๆ ด้วยตนเอง ศิลปะปติมากรรม
ซึ่งเวลาแล้วก็กิจกรรมของแต่ละคน ที่เข้ามาอยู่ในหอศิลป์นี้ ย่อมมีความแตกต่างกัน ถึงอย่างนั้นสถานที่นี้ ก็เป็นที่ที่ทุกคนสามารถ ที่จะเข้ามาหาความสุขได้ ผมมีความสุขแล้วก็ดีใจ ที่บ้านเรานั้นมีพื้นที่แบบนี้ พื้นที่แบบนี้ถือได้ว่า เป็นทั้งสถานที่พักผ่อน ทางกายแล้วก็เป็น ทั้งสถานที่พักผ่อนทางใจ ยุคศิลปะแนวใหม่
รวมถึงเป็นที่พักสมองด้วยนะ เนื่องจากความเงียบ ที่อยู่ภายในที่แห่งนี้ ถือได้ว่าเป็นสถานที่ที่เงียบเลยที หากเปรียบเทียบกับที่อื่น ๆ ที่อยู่รายล้อมสถานที่แห่งนี้ ความเงียบนั้น ทำให้คนสามารถ คิดอะไรได้มากมาย พวกเขาคงสามารถมีความสุขได้ เมื่อมีความสุขก็สามารถมีแรงบันดาลใจ
และนี่คือสิ่งที่หอศิลป์สามารถทำได้ ส่วนในสมัยนี้นั้น มีสิ่งหนึ่งที่เรียกว่า visual overload คือสายตาของเรา มีหลายสิ่งหลายอย่าง เข้ามาอย่างมากมาย ตัวในบางครั้งนั้น ถือว่ามีความเยอะเกินความจำเป็น ผมจึงอยากจะถามว่า แล้วสิ่งเหล่านั้นสามารถสร้างแรงบันดาลใจได้หรือไม่